เครื่องชั่งน้ำหนัก,เครื่องชั่งน้ำหนักพร้อมวัดส่วนสูง

ไม่ใช้BMI การคำนวณ นำค่าไปใช้ประเมินความอ้วนของร่างกาย และนำไปประกอบภาวะความเสี่ยงโรคบางโรค

 

ดัชนีมวลกาย คือค่าที่ได้จาก การนำค่า น้ำหนัก (กก.) หารด้วย ความสูง(เมตร)ยกกำลังสอง
**น้ำหนักและส่วนสูงสามารถชั่งและวัดได้จาก เครื่องชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง ทั้งเครื่องชั่งน้ำหนักแบบสปริง เครื่องชั่งน้ำหนักแบบดิจิตอล และ เครื่องชั่งน้ำหนักแบบตุ้มเลื่อน**
ค่าดัชนีมวลกาย มีประโยชน์เพื่อใช้แปลสภาวะร่างกายว่า ปกติ ผอมเกินไป เริ่มอ้วน ตลอดจน โรคอ้วน เพื่อจะได้ปฎิบัติตนได้ถูกต้อง ในแง่ การรับประทาน ตลอดจน การออกกำลังกาย และประเมินความเสียง ของโรคต่างๆได้ เชน ความเสียงในการจะเป็นโรคความดันโลหิตสูง ความเสี่ยงต่อเบาหวาน และอื่นๆ
วิธีหาค่า BMI -ดัชนีมวลกาย

 

 

 

 

1 ชั่งน้ำหนัก ด้วยเครื่องชั่งน้ำหนัก วัดหน่วยเป็น กิโลกรัม  
2 วัดส่วนสูง ด้วยที่วัดส่วนสูง วัดเป็น เช็นติเมตร ปัจจุบัน มีเครื่องชั่งน้ำหนักพร้อมวัดส่วนสูงจำหน่าย

3 คำณวนค่า BMI จากสูตร

 BMI = น้าหนักหน่วยกิโลกรัม / ส่วนสูงหน่วยเมตร ยกกำลังสอง

4 นำค่าที่ได้จากการคำนวณ มาแปลผลตามตราง เข่น ค่า BMI น้อยกว่า 18.5 แปลผลว่า น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐาน, ค่า BMI มากกว่า 25 หมายถึงน้ำหนักเกินมาตรฐาน

ปัจจุบัน ในขั้นตอนการคำณวน BMI และการแปลผล มีโปรแกรมคำนวณ ทำให้สะดวกมากขึ้น

คำณวน BMI และ แปลผล

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

นอกจากแปลผลเกี่ยวกับรูปร่างแล้วค่า BMI เป็นค่าหนึ่งที่ใช้ในการคัดกรองความเสี่ยงเบาหวาน โดยใช้ค่าอื่นๆร่วม ค่าที่ใช้ทั้งหมดได้แก่ เพศ , อายุ , ประวัติคนในครอบครัวเบาหวาน , BMI , เส้นรอบเอว , ความดันโลหิตสูง ( ค่าเฉลี่ยจากการวัด 3 ครั้ง)

  คุณสมบัติ ค่าตามคุณสมบัติ
1 เพศ ชาย=2  
หญิง=0
2 อายุ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 34-44 ปี=0  
45 ถึง49 ปี=1
มากว่าหรือเท่ากับ 50 ปี=2
3 ประวัติคนในครอบครัวเบาหวาน มี=4  
ไม่มี=0
4 BMI น้อยกว่า 23 =0  
23-27.5 = 3
,มากกว่า 27.5 = 5
5 เส้นรอบเอว CM. ผู้ชายน้อยกว่า90ซม. หรือ ผู้หญิงน้อยกว่า80ซม.=0  
ผู้ชายมากกว่าหรือเท่ากับ90ซม. หรือผู้หญิงมากกว่าหรือเท่ากับ80ซม. =1
6ความดันโลหิตสูงเฉลี่ย ความดัน น้อยกว่า 140/90 mmHg =0  
ความดัน มากกว่าหรือเท่ากับ140/90 mmHg =2

ความเสี่ยงต่อเบาหวาน

คะแนนรวมที่ได้ 1-6 แปลผล  
≤ 2 ความเสี่ยงต่อเบาหวาน ต่ำ  
3-5 ความเสี่ยงต่อเบาหวานปานกลาง  
6-8 ความเสี่ยงต่อเบาหวานสูง แนะนำให้เจาะระดับน้ำตาลในเลือด
≥9 ความเสี่ยงสูงมาก

ความเสี่ยงต่อภาวะอ้วนลงพุง

คะแนนข้อ5 แปลผล ข้อควรปฏิบัติ
=1 เสี่ยงต่อภาวะอ้วน จำกัดอาหารและออกกำลังกาย

ความเสี่ยงต่อความดันโลหิตสูง

คะแนนข้อ6 แปลผล ข้อควรปฏิบัติ
=2 เสี่ยงต่อภาวะความดันโลหิตสูง ปรึกษาแพทย์ และหมั่นวัดความดันด้วยเครื่องวัดความดัน สมำเสมอ

 

เครื่องชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูง

เครื่องชั่งน้ำหนักพร้อมวัดส่วนสูง 
TCS250LP 150x150 ไม่ใช้BMI การคำนวณ นำค่าไปใช้ประเมินความอ้วนของร่างกาย และนำไปประกอบภาวะความเสี่ยงโรคบางโรคเครื่องชั่งน้ำหนัก RCS 200 150x150 ไม่ใช้BMI การคำนวณ นำค่าไปใช้ประเมินความอ้วนของร่างกาย และนำไปประกอบภาวะความเสี่ยงโรคบางโรค
weightappJSA 180 150x150 ไม่ใช้BMI การคำนวณ นำค่าไปใช้ประเมินความอ้วนของร่างกาย และนำไปประกอบภาวะความเสี่ยงโรคบางโรคเครื่องชั่งน้ำหนัก RGT 200 150x150 ไม่ใช้BMI การคำนวณ นำค่าไปใช้ประเมินความอ้วนของร่างกาย และนำไปประกอบภาวะความเสี่ยงโรคบางโรค
backMenu 150x150 ไม่ใช้BMI การคำนวณ นำค่าไปใช้ประเมินความอ้วนของร่างกาย และนำไปประกอบภาวะความเสี่ยงโรคบางโรค

Leave a Reply

Your email address will not be published.